เผยแพร่เมื่อ วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2565
ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯกำลังจะอ่อนได้อีก หากถามว่าเพราะอะไรเราขอตอบในการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานมีอยู่ 2 ประเด็นสำคัญ
1.อัตราผลตอบแทนระหว่างสหรัฐฯกับไทยห่างขึ้นเรื่อยๆ ในเดือน มิ.ย.การประชุม กนง. ได้คงดอกเบี้ยที่ 0.5% ส่วนการประชุม FOMC คาดการณ์ว่าขึ้นดอกเบี้ย 0.5% และส่งให้ดอกเบี้ยสหรัฐฯขึ้นไปแตะ 1.5% ซึ่งเป็นที่ดึงดูดใจของนักลงทุนเพราะมีอัตราผลตอบแทนมากกว่า EU , ญี่ปุ่น สร้างความต้องการค่าเงินดอลลาร์เพิ่มขึ้น และมีโอกาสที่นักลงทุนจะนำเงินลงทุนออกจากไทยเพิ่มขึ้น เพราะอัตราดอกเบี้ยไม่น่าดึงดูด
2.อัตราเงินเฟ้อเดือน พ.ค.ของไทยแตะ 7.1% แตะระดับสูงสุดในรอบ 13 ปี ซึ่งเดือน เม.ย. แตะเพียง 4.65% เป็นผลมาจากราคาพลังงาน สูงขึ้น 37.24% ทำให้ค่าไฟฟ้าสูงขึ้น 45.43% และก๊าซหุงต้มสูงขึ้น 8% ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรที่ปรับขึ้น หลังจากนานาประเทศระงับการส่งออกสินค้าเกษตร และแนวโน้มเงินเฟ้อไทยยังอยู่ในรอบระดับสูงเนื่องจาก การปรับเพิ่มค่าไฟฟ้าผันแปร(Ft) ตั้งแต่ พ.ค. ถึง ส.ค. ทำให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น ส่วนแนวโน้มราคาพลังงานยังสามารถปรับขึ้นได้อีก
แนวโน้มค่าเงินบาทอ่อน เราสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายแบบ ได้แก่
Array ( )
Array ( [sesCAFXXSLAT] => 1732184542 [CAFXSI18NX] => th [_csrf] => 7b1b7f65ea8a7f2ae58b125923c9aa4b [CAFXSFEREF] => https://www.caf.co.th/article/analyze-usd-2022.html )
Array ( [content] => analyze-usd-2022 )
Array ( )